วันพฤหัสบดีที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2556


เรียนครั้งที่ 5

บันทึกอนุทิน

วิชา การจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัยะ

อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ  แจ่มถิน
วันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
 เวลาเรียน 13.10-16.40 น.
เวลาเข้าสอน 13.10 น. เวลาเข้าเรียน 13.06 น. เวลาเลิกเรียน 14.40 น.


การนำเสนองาน
ในวันนี้พอเริ่มต้นเรียน อาจารย์ก็แจกกระดาษแล้วบอกว่าให้วาดรูประบายสี สิ่งของอะไรก็ได้ ที่รักและติดมากๆในตอนวัยเด็ก **ดูภาพประกอบได้เลยค่ะ



 
              ภาพด้านบนนะคะเป็นภาพน้องหมา กับ น้องแมว น้องรักของหนู อยู่ด้วยกันมาแต่แต่เกิด เขาชื่อ น้องโตโต้ กับ น้องเหมย หนูรักพวกเขามากๆอยู่ด้วยแล้วมีความสุข ตอนนี้ น้องเหมยได้จากหนูไปแล้วแต่ โตโต้ยังอยู่กับหนูมาจนถึงทุกวันนี้


 กลุ่มนี้จะพูดในเรื่องของการพัฒนาของเด็กปฐมวัย
ความหมาย....ของการพัฒนา องค์กระกอยาางด้าสติปัญญา รวมถึงโครงสร้างของสติปัญญา Mental strure

1.Phonology
  -ระบบเสียงของภาษา
-เสียงที่มนุษย์เปลีงออกมาเพื่อสื่อความหมาย
-หน่วยเสียงจะประกอบขึ้นเป็นคำในภาษา

2.Semantic
-คือความหมายของภาษาและคำศัพท์
-คำศัพท์บางคำสามารถที่ได้หลายหลายความหมาย
-ความหมายเหมือนกันแต่ใช้คำษัพท์ต่างกัน

3.Syntax
-คือระบบไวยากรณ์
-การเรียนรู้ประโยค
4.Pragmatic
-คือระบบนำไปใช้
-ใช้ภาษาให้ถูกต้องตามสถานการณ์และกาลเทศะ

 แนวคิดนักการศึกษา
1. แนวคิดกลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีของการเรียนรู้  Skinner
-สิ่งแวดล้อมมีอิธิพลต่อการพัฒนาการทางภาษา
-ให้ความสำคัญ

John B.watson
-ทฤษฎีการวางเงื่อนไขเเบบคลาสิค
-การวางเงื่อนไขพฤติกรรมของเด็ก  เป็นสิ่งที่สามารถตำแนกได้
"หากมอบเด็กทารกที่สุขภาพดีกับเขา 12 คน เขาสามารถที่จะฝึกให้เด็กแต่ละคนเป็นในสิ่งที่เขาเลือกไว้ให้ได้"

นักฟฤติกรรมนิยมเชื่อว่า

-ภาษาเป็นกระบวนการภายในของมนุษย์
-การเรียนภาษาเป็นผลจากการปรับพฤติกรรมโดยสิ่งแวดล้อม
-เด็กเกิดมาโดยศักยภาพในการเรียนรู้ภาษา
-เด็กจะสังเกตและเลียนแบบพฤติกรรม เมื่อมีปฎิสัมพันธ์กับบุคคลรอบตัว

2.Piaget
-เด็กเรียนรู้จากการมีปฎิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม
ภาษาเป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นระดับพัฒนาการทางสติปัญญาของเด็ก  
Vygotsky
-เด็กเรียนรู้จากการมีปฎิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม
-สังคม บุคคลรอบข้าง มีผลต่อการเรียนรู้ภาษาของเด็ก
-เน้นบทบาทของผู้ใหญ่
-ผู้ใหญ่ควรชี้แนะและขยายประสบการณ์ด้านภาษาของเด็ก
3. แนวคิดของกลุ่มที่เชื่อเรื่องความพร้อมทางร่างกาย
                   Arnold Gesell
                     -เน้นความพร้อมทางด้านร่างกายในการใช้ภาษา
                           -ความพร้อม วุฒิภาวะของเด็กแต่ละคนไม่เท่ากัน
                           -เด็กบางคนอาจมีความพร้อมทางร่างกายในการใช้ภาษาได้เร็ว
                           -เด็กบางคนอาจมีปัญหาอวัยวะบางส่วนที่ใช้ภาษาในการสื่อสารบกพร่อง

4.  แนวคิดของกลุ่มที่เชื่อว่าภาษาติดตัวมาตั้งแต่เกิด
                     Noam Chomsky
                            -  ภาษาเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในตัวมนุษย์
                             - การเรียนรู้ภาษาขึ้นอยู่กับวุฒิภาวะ


                         แนวทางในการจัดประสบการณ์ทางภาษา
         
         - เป็นสิ่งที่สะท้อนปรัชญาและความเชื่อของครูเกี่ยวกับการเรียนรู้ภาษาของเด็ก
          -นำไปสู่การกำหนดกระบวนการที่ใช้อย่างแตกต่างกัน     

     Richard and Rodger (1995) ได้แบ่งมุมมองต่อภายในการจัดประสบการณ์เป็น 3 กลุ่ม
                 1. มุมมองด้านโครงสร้างของภาษา
                 2. มุมมองด้านหน้าที่ของภาษา
                            -เชื่อว่าเป็นเครื่องมือสำหรับสือความหมาย
                 3. มุมมองด้านปฏิสัมพันธ์  
                            -เชื่อว่าภาษาเป็นเครื่องมือในการสร้างความสัมพันธ์ทางสังคม
                            -การแลกเปลี่ยนประสบการณ์

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น