วันพฤหัสบดีที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556



บันทึกอนุทินครั้งที่6

วิชา การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อ. ตฤน แจ่มถิ่น
วัน/เดือน/ปี  19/07/56
เรียนครั้งที่6 เวลาเรียน 13:10-16:40
เวลาเข้าเรียน 13:00 เวลาเลิกเรียน 16:40

สรุปการเรียนการสอนวันนี้
แนวทางการจัดประสบการณ์ทางภาษาที่เน้นทักษะทางภาษา 
            Skill Approch
                    - ให้เด็กรู้จักส่วนย่อยๆของภาษา
                   - การประสมคำ
                   - ความหมายของคำ
                  - นำมาประกอบเป็นประโยค
                  - การแจกรูปสะกดคำ การเขียน
                - ไม่สอดคล้องกับธรรมชาติ
               - ไม่สอดคล้องกับลักษณะการเรียนรู้ภาษาของเด็ก
             Keneth Goodman
               - เสนอแนวทางการสอนแบบธรรมชาติ
              - มีความเชื่อมโยงระหว่างภาษากับความคิด
              - แนวทางการสอนมีพื้นฐานมาจากการเรียนรู้และธรรมชาติของเด็ก

             ธรรมชาติของเด็กปฐมวัย
            - สนใจ อยากรู้อยากเห็นสิ่งรอบๆตัว
           - ช่างสงสัย ช่างซักถาม
          - มีคามคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ
          - ชอบเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ
         - เลียนแบบคนรอบข้าง

     2. การสอนภาษแบบธรรมชาติ
          Whole Language
                ทฤษฎีมีอิทธิพลต่อการสอนภาษาแบบธรรมชาติ
                    Dewey / Piaget / Vygotsky / Haliday
             - เด็กเรียนรู้จากประสบการณ์และการลงมือกระทำ
            - การเรียนรู้จากกิจกรรม การเคลื่อนไหวของตนเอง และการได้สัมผัสกับสิ่งต่างๆ แล้วสร้างความรู้           
             ขึ้นมาด้วยตนเอง
           - อิทธิพลองสังคมและบุคคลอื่นๆ ที่มีผลต่อการเรียนรู้ภาษาของเด็ก
            
            การสอนภาษาแบบธรรมชาติ
            - สอนบูรณาการ / องค์รวม
             - สอนในสิ่งที่เด็กสนใจ และมีความหมายสำหรับเด็ก
             - สอนสิ่งที่ใกล้ตัวเองและอยู่ในชีวิตประจำวัน
            - สอนแทรกการฝึกทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน ไปพร้อมกับการทำกิจกรรม
            - ไม่เข้มงวดกับการท่อง สะกด
            -ไม่บังคบให้เด็กเขียน

          หลักของการสอนภาษาแบบธรรมชาติ
     1. การจัดสภาพแวดล้อม
         - ตัวหนังสือที่ปรากฏในห้องเรียนต้องมีเป้าหมายในการใช้จริงๆ
         - หนังสือที่ใช้จะต้องเป็นหนังสือที่ใช้ภาษาที่มีความหมายสมบูรณ์ในตัว
         - เด็กมีส่วนในการจัดสภาพแวดล้อม
     2. การสื่อสารที่มีความหมาย
         - เด็กสื่อสารโดยมีพื้นฐานจากประสบการณ์จริง
         - เด็กอ่านและเขียนอย่างมีจุดมุ่งหมาย
        - เด็กได้ใช้เวลาในการอ่านและเขียนตามโอกาส
    3. การเป็นแบบอย่าง
         - ครูอ่านและเขียนอย่างมีจุดมุ่งหมายในการใช้ให้เด็กเห็น
        - ครูเป็นแบบอย่างที่ดีให้เด็กเห็นว่าการอ่านเป็นเรื่องสนุก
    4. การตั้งความคาดหวัง
        - ครูเชื่อว่าเด็กมีความสามารถในการอ่านและเขียน
        - เด็กสามารถอ่าน เขียน ได้ดีและถูกต้องยิ่งขึ้น
   5. การคาดคะเน
        - เด็กมีโอกาสในการทดลองภาษา
        - เด็กได้คาดเดา หรือคาดคะเนเรื่องที่อ่าน
       - ไม่คาดหวังให้เด็กอ่านและเขียนได้เหมอนผู้ใหญ่
    6. การใช้ข้อมูลย้อนกลับ
           - ตอบนองความพยายามในการใช้ภาษาของเด็ก
          - ยอมรับการอ่านและการเขียนของเด็ก
          - ตอบสนองเด็กให้เหมาะสมกับสถานการณ์
     7. การยอมรับนับถือ
          - เด็กมีความแตกต่างระหว่าบุคล
           - เด็กได้เลือกกิจกรรมที่จะเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง
          - ในช่วงเวลาเดียวกันไม่จำเป็นต้องกระทำสิ่งเดียวกัน
          - ไม่ทำกิจกรรมตามจังหวะขั้นตอน
     8. การสร้างความรู้สึกเชื่อมั่น
         - ให้เด็กรู้สึกปลอดภัยเมื่อใช้ภาษา
        - ครูจะต้องทำให้เด็กไม่กลัวที่จะขอความช่วยเหลือ
        - ไม่ตราหน้าเด็กว่าไม่มีความสารถ
        - มีความเชื่อมั่นว่าตนมีความสามารถ

                    บทบาทครู
          - ครูคาดหวังเด็กแต่คนแตกต่างกัน
         - ใช้ประสบการณ์ตรงในการสนับสนุนการอ่านการเขียน
        - ครูควรยอมรับกับความไม่ถูกครบถ้วนของเด็ก
       - ครูสร้างความสนใจ ในคำและสิ่งพิมพ์
จบการนำเสนอ
นางสาว  จารุวรรณ     ปัตตัง
.................................................................................

วันพฤหัสบดีที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2556


เรียนครั้งที่ 5

บันทึกอนุทิน

วิชา การจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัยะ

อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ  แจ่มถิน
วันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
 เวลาเรียน 13.10-16.40 น.
เวลาเข้าสอน 13.10 น. เวลาเข้าเรียน 13.06 น. เวลาเลิกเรียน 14.40 น.


การนำเสนองาน
ในวันนี้พอเริ่มต้นเรียน อาจารย์ก็แจกกระดาษแล้วบอกว่าให้วาดรูประบายสี สิ่งของอะไรก็ได้ ที่รักและติดมากๆในตอนวัยเด็ก **ดูภาพประกอบได้เลยค่ะ



 
              ภาพด้านบนนะคะเป็นภาพน้องหมา กับ น้องแมว น้องรักของหนู อยู่ด้วยกันมาแต่แต่เกิด เขาชื่อ น้องโตโต้ กับ น้องเหมย หนูรักพวกเขามากๆอยู่ด้วยแล้วมีความสุข ตอนนี้ น้องเหมยได้จากหนูไปแล้วแต่ โตโต้ยังอยู่กับหนูมาจนถึงทุกวันนี้


 กลุ่มนี้จะพูดในเรื่องของการพัฒนาของเด็กปฐมวัย
ความหมาย....ของการพัฒนา องค์กระกอยาางด้าสติปัญญา รวมถึงโครงสร้างของสติปัญญา Mental strure

1.Phonology
  -ระบบเสียงของภาษา
-เสียงที่มนุษย์เปลีงออกมาเพื่อสื่อความหมาย
-หน่วยเสียงจะประกอบขึ้นเป็นคำในภาษา

2.Semantic
-คือความหมายของภาษาและคำศัพท์
-คำศัพท์บางคำสามารถที่ได้หลายหลายความหมาย
-ความหมายเหมือนกันแต่ใช้คำษัพท์ต่างกัน

3.Syntax
-คือระบบไวยากรณ์
-การเรียนรู้ประโยค
4.Pragmatic
-คือระบบนำไปใช้
-ใช้ภาษาให้ถูกต้องตามสถานการณ์และกาลเทศะ

 แนวคิดนักการศึกษา
1. แนวคิดกลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีของการเรียนรู้  Skinner
-สิ่งแวดล้อมมีอิธิพลต่อการพัฒนาการทางภาษา
-ให้ความสำคัญ

John B.watson
-ทฤษฎีการวางเงื่อนไขเเบบคลาสิค
-การวางเงื่อนไขพฤติกรรมของเด็ก  เป็นสิ่งที่สามารถตำแนกได้
"หากมอบเด็กทารกที่สุขภาพดีกับเขา 12 คน เขาสามารถที่จะฝึกให้เด็กแต่ละคนเป็นในสิ่งที่เขาเลือกไว้ให้ได้"

นักฟฤติกรรมนิยมเชื่อว่า

-ภาษาเป็นกระบวนการภายในของมนุษย์
-การเรียนภาษาเป็นผลจากการปรับพฤติกรรมโดยสิ่งแวดล้อม
-เด็กเกิดมาโดยศักยภาพในการเรียนรู้ภาษา
-เด็กจะสังเกตและเลียนแบบพฤติกรรม เมื่อมีปฎิสัมพันธ์กับบุคคลรอบตัว

2.Piaget
-เด็กเรียนรู้จากการมีปฎิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม
ภาษาเป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นระดับพัฒนาการทางสติปัญญาของเด็ก  
Vygotsky
-เด็กเรียนรู้จากการมีปฎิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม
-สังคม บุคคลรอบข้าง มีผลต่อการเรียนรู้ภาษาของเด็ก
-เน้นบทบาทของผู้ใหญ่
-ผู้ใหญ่ควรชี้แนะและขยายประสบการณ์ด้านภาษาของเด็ก
3. แนวคิดของกลุ่มที่เชื่อเรื่องความพร้อมทางร่างกาย
                   Arnold Gesell
                     -เน้นความพร้อมทางด้านร่างกายในการใช้ภาษา
                           -ความพร้อม วุฒิภาวะของเด็กแต่ละคนไม่เท่ากัน
                           -เด็กบางคนอาจมีความพร้อมทางร่างกายในการใช้ภาษาได้เร็ว
                           -เด็กบางคนอาจมีปัญหาอวัยวะบางส่วนที่ใช้ภาษาในการสื่อสารบกพร่อง

4.  แนวคิดของกลุ่มที่เชื่อว่าภาษาติดตัวมาตั้งแต่เกิด
                     Noam Chomsky
                            -  ภาษาเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในตัวมนุษย์
                             - การเรียนรู้ภาษาขึ้นอยู่กับวุฒิภาวะ


                         แนวทางในการจัดประสบการณ์ทางภาษา
         
         - เป็นสิ่งที่สะท้อนปรัชญาและความเชื่อของครูเกี่ยวกับการเรียนรู้ภาษาของเด็ก
          -นำไปสู่การกำหนดกระบวนการที่ใช้อย่างแตกต่างกัน     

     Richard and Rodger (1995) ได้แบ่งมุมมองต่อภายในการจัดประสบการณ์เป็น 3 กลุ่ม
                 1. มุมมองด้านโครงสร้างของภาษา
                 2. มุมมองด้านหน้าที่ของภาษา
                            -เชื่อว่าเป็นเครื่องมือสำหรับสือความหมาย
                 3. มุมมองด้านปฏิสัมพันธ์  
                            -เชื่อว่าภาษาเป็นเครื่องมือในการสร้างความสัมพันธ์ทางสังคม
                            -การแลกเปลี่ยนประสบการณ์
เรียนครั้งที่ 4
บันทึกอนุทิน

วิชา การจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัยะ

อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ  แจ่มถิน
วันที่ 5  กรกฎาคม พ.ศ. 2556
 เวลาเรียน 13.10-16.40 น.
เวลาเข้าสอน 13.10 น. เวลาเข้าเรียน 13.06 น. เวลาเลิกเรียน 14.40 น.



การนำเสนอผลงาน

กลุ่มที่ 1 

นำเสนอเรื่องความหมายของภาษา

            ภาษา หมายถึง เครื่องมือในการสื่อความหมายซึ่งใช้ถ่ายทอดความคิด ความรู้สึก ความต้องการของตนให้ผู้อื่นทราบ ไม่ว่าจะเป็นเสียงพูด ถ้อยคำ กิริยาอาการ หรือสัญลักษณ์

ความสำคัญของภาษา

 ประโยชน์ของภาษาที่มีต่อมนุษย์ คือ
- ช่วยธำ รงสังคม เช่น คำ ทักทายปราศรัยแสดงไมตรีต่อกัน หรือใช้เป็นกฎระเบียบของสังคม
- ช่วยแสดงปัจเจกบุคคล คือ แสดงลักษณะเฉพาะของแต่ละบุคคล เช่น นํ้าเสียง ลายมือ รสนิยมอารมณ์
- ช่วยพัฒนามนุษย์ เช่น สามารถถ่ายทอดความรู้ ความคิดและประสบการณ์ให้แก่กันได้
- ช่วยกำหนดอนาคต เช่น คำ สั่ง การวางแผน สัญญา คำ พิพากษา คำ พยากรณ์ การนัดหมาย
               
กลุ่มที่ 2

แนวคิดทฤษฎีของเด็กปฐมวัย

เพียเจท์ การเรียนรู้ผ่านการเล่น กล่าวว่า

          เพียเจต์ (Piaget) ได้ศึกษาเกี่ยวกับพัฒนาการทางด้านความคิดของเด็กว่ามีขั้นตอนหรือกระบวนการอย่างไร ทฤษฎีของเพียเจต์ตั้งอยู่บนรากฐานของทั้งองค์ประกอบที่เป็นพันธุกรรม และสิ่งแวดล้อม เขาอธิบายว่า การเรียนรู้ของเด็กเป็นไปตามพัฒนาการทางสติปัญญา ซึ่งจะมีพัฒนาการไปตามวัยต่าง ๆ เป็นลำดับขั้น พัฒนาการเป็นสิ่งที่เป็นไปตามธรรมชาติ ไม่ควรที่จะเร่งเด็กให้ข้ามจากพัฒนาการจากขั้นหนึ่งไปสู่อีกขั้นหนึ่ง เพราะจะทำให้เกิดผลเสียแก่เด็ก แต่การจัดประสบการณ์ส่งเสริมพัฒนาการของเด็กในช่วงที่เด็กกำลังจะพัฒนาไปสู่ขั้นที่สูงกว่า สามารถช่วยให้เด็กพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว อย่างไรก็ตาม เพียเจต์เน้นความสำคัญของการเข้าใจธรรมชาติและพัฒนาการของเด็กมากกว่าการกระตุ้นเด็กให้มีพัฒนาการเร็วขึ้น เพียเจต์สรุปว่า พัฒนาการของเด็กสามารถอธิบายได้โดยลำดับระยะพัฒนาทางชีววิทยาที่คงที่ แสดงให้ปรากฏโดยปฏิสัมพันธ์ของเด็กกับสิ่งแวดล้อม 

จอห์นอิวอี้  กล่าวว่า
ความอยู่รอดของสรรพสัตว์ (ซึ่งหมายถึงมนุษย์ด้วยนั้น) ย่อมขึ้นอยู่กับการปรับตัวของสิ่งนั้นๆ
 และยังพูดถึง ทฤษฎีของ ไวกอตกี้ ฮอลลิเดย์ กู๊ดแมน

กลุ่มที่  3

 พัฒนาทางาสติปัญญา เด็กแรกเกิด  ถึง  2  ปี
แรกเกิด -4 เดือน แสดงความตื่นเต้น 5 เดือน เข้าใจสิ่งปกติแสดงสีหน้าออกมา 6 เดือน เริ่มสนใจสิ่งรอบๆตัว 8เดือน -9 เดือน สนใจอะไรอย่างจริงจัง 10 เดือน-11 เดือน-12 เดือน 15เดือน -21 เดือน -2ปี อยู่ตามลำพังชอบเล่นคนเดียว



   การพัฒนาการและลักษณะต่างๆในแต่ละช่วงด้วย....

สรุป

เด็กจะเรียนรู้กับบุคคลรอบข้าง และเรียนรู้กับบุคคลอื่นเด็กมีความสามารถก็จะสื่อสารออกมาในล้กษณะต่างๆไม่ว่าจะเป็นการยิ้ม  การหัวเราะ

กลุ่มที่ 4

การพัฒนาทางด้าสติปัญญา เด็กอายุ 2-4 ปี

สรุป

พัฒนาการทางด้าภาษา เด็กมีปฎิสัมพันธ์กับบุคคลอื่น เพื่อนๆ  กล้าพูดกล้าแสดงออก

กลุ่มที่ 5

-เด็กชอบถาม
-เด็กมักสนใจคำพูดของผู้ใหญ่

เด็ก 4-6  ปี  มีการใช้ภาษาสิ่อสารได้ดีขึ้นอยู่กับการเบรมเลี้ยงดู

กลุ่มที่ 6

 จิตวิทยากรรเรียนรู้

-แนวคิดทฤษฎีการเรียนรู้
-ความหมายของทฤษฎีการเรียนรู้
-จุดมุ่งหมายของพารเรียนรู้
-องค์ประกอบสำคัญของการเรียนรู้
                   แรงขับ
                   สิ่งเร้า
                   การตอบสนอง
                   การเสริมแรง
กลุ่มที่ 7

วิธีการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย

        การเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยเป็นกระบวนการการเรียนรู้เกิดจากการทำงานของโครงสร้างทางสติปัญญา...
   -การช่วยเหลือตนเอง
    การเรียนรู้ มาจากการสัมผัส ความสัมพันธ์ระหว่างตรเองกับสิ่งแวดล้อม
กลุ่มที่ 9

องค์ประกอบทนงด้านภาษา


- เสียง  -ไวยากรณ์  - ความหมาย
ความหมายของเสียง 1-10 เดืิอน จำแนกเสียงต่างๆได้
                             10 - 18 ออกเสียงคำได้เป็นบางคำ
การอ่าน การรับรู้ข้อความ  รู้ความหมาย

กลุ่มที่  10


 พูดถึงเรื่องหลักการจัดประสบการณ์......
               


เรียนครั้งที่ 3
บันทึกอนุทิน

วิชา การจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ  แจ่มถิน
วันศุกร์ ที่ 28  มิถุนายน พ.ศ. 2556
 เวลาเรียน 13.10-16.40 น.
เวลาเข้าสอน 13.10 น. เวลาเข้าเรียน 13.06 น. เวลาเลิกเรียน 14.40 น.



วันนี้ไม่มีการเรียนการสอนเป็นวันรับน้องของมหาวิทยาลัยราชภัฎจันเกษม





วันพุธที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2556




บันทึกอนุทิน

วิชา การจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ  แจ่มถิน
วันศุกร์ ที่ 21  มิถุนายน พ.ศ. 2556
ครั้งที่ 2 เวลาเรียน 13.10-16.40 น.
เวลาเข้าสอน 13.10 น. เวลาเข้าเรียน 13.06 น. เวลาเลิกเรียน 14.40 น.

 เรียนเรื่อง : ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
                  ความหมายของภาษา : การสื่อความหมาย เป็นเครื่องมือในการแสดงความคิดเห็นและความรูู้สึกต่างๆภายในของมนุษย์เรา
          
ความสำคัญของภาษา : 
1. เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร
2.เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้
3.เป็นเครื่องมือในการเสริมสร้างความเข้าใจอันดีต่อกัน
4.เป็นเครื่องมือช่วนจรรโลงจิตใจของมนุษย์เรา
ทักษะทางภาษา :
1.การฟัง ใช้หูในการรับรู้
2.การพูด ใช้ปากสื่อถึงบุคคลอื่น
3.การอ่าน การใช้สายตาเพื่อการรับรู้
4.การเขียน เขียนสื่อถุงบุคคลอื่น

ทฤษฏีพัฒนาการด้านสติปัญญาของ  <Piaget>
      การที่เด็กมีปฎิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมเป็นปัจจัยสำคัญ ในการพัฒนาการทางด้านภาษาและสติปัญญาของเด็ก เพราะ ภาษาจะเกิดขึ้นได้จะต้องมีปฎิสัมพันธ์ เช่น การพูดคุยกันกับเพื่อน
กระบวนการเรียนรู้ประกอบด้วย 2 กระบวนการ
       1.การดูดซึม Assimilation : เป็นการที่เด็กได้รู้ ได้ดูดซึมภาพต่างๆจากสภาพแวดล้อมด้วยประสบการณ์ของตนเอง เช่น สัตว์ที่มีปีก เด็กก็จะคิดว่าเป็นนก
        2.การปรับความเข้าใจเดิมให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมใหม่ Accomodation : เป็นกระบวนการที่เกิดควบคู่ไปกับการดูดซึม โดยการปรับความรู้เดิมที่มีอยู่แล้วให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมหรือประสบการณ์เดิม เช่น นก คือ สัตว์ที่มีปีก บินได้ ปากแหลมๆ และร้องจิ๊บๆ เมื่อเกิดการดูดซึมและการปรับความเข้าใจจะเกิดความสมดุล Equilibrium กลายเป็นความคิดรวบยอดของสมอง



พัฒนาการด้านภาษามี 4ขั้น
1.            ด้านประสาทสัมผัส Sensorimotor Stage :
- เด็กเรียนรู้คำศัพท์จากสิ่งแวดล้อม บุคลรอบตัว
-เด็กสนใจที่อยู่รอบตัวก่อนที่จะเรียนรู้ภาษา
- เด็กจะเรียนรู้จากประสาทสัมผัสต่างๆ
      2.ความคิดอย่างมีเหตุผล Preoperational Stage : เด็กเริ่มใช้ภาษาและสัญลักษณ์ในการสื่อสาร    เล่นบทบาทสมมุติ การเล่าเรื่อง ภาษาของเด็กมีลักษณะยึดตนเองเป็นศูนย์กลาง 
                      2.1 อายุ 2-4 ปี (Preconceptual  period)
                      เด็กเริ่มใช้ภาษาและสัญลักษณ์ในการสื่อสารและบทบาทสมมุติ การเล่าเรื่อง การแสดงความรู้สึกผ่านสีหน้า บอกชื่อต่างๆรอบตัว ภาษษของเด็กมีลักษณะยึดตนเองเป็นศูนย์กลาง จะใช้ภาษาหรือสัญลักษณ์ แสดงออกโดยคิดว่าคนอื่นคิดเหมือนตน
                      2.2 อายุ 4-7ปี (Intuitive  period)
                      -ใช้ภาษาในการสื่อสารได้ดีกับรอบข้าง
                      -ให้ความสนใจกับสิ่งที่เป็นนามธรรมได้บ้าง
                      -ยึดตนเองเป็นศูนย์กลาง
                      -สามารถเห็นความสัมพันธ์ของสิ่งของ
      3.รูปธรรม Concrete Operational Stage : แก้ปัญหา ใช้เหตุผล
                      -เด็กสามารถแก้ปัญหาได้โดยใช้เหตุผลที่เป็นรูปธรรม
      4.นามธรรม Formal Operational Stage : คิดเป็นระบบ แก้ปญหา เข้าใจกฏเกณฑ์ทาง  สังคม  และสร้างมโนทัศน์ให้ความสัมพันธ์กับนามธรรม
พัฒนาการทางภาษา สำหรับเด็ก
       เด็กจะค่อยๆสร้างความรู้และความเข้าใจเป็นลำดับขั้นตอน ครูต้องเข้าใจและยอมรับหากพบว่าเด็กใช้คำศัพท์หรือไวยกรณ์ไม่ถูกต้อง ควรมองว่านั้นเป็นกระบวนการ การเรียนรู้ทางภาษาของเด็ก
จิตวิทยาการเรียนรู้
1. ความพร้อม = วัย ความสามารถ และประสบการณ์เดิมของเด็ก
2.ความแตกต่างระหว่างบุคคล = อิทธิพลทางพันธุกรรม และอิทธิพลจากสิ่งแวดล้อม
3.การจำ = การเห็นบ่อยๆ การทบทวนเป็นระยะ การจัดหมวดหมู่ การใช้คำสัมผัส
4.การให้แรงเสริม = ทางบวก  เช่นการให้ดาว การยกนื้ว
                                 ทางลบ  

วันอังคารที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

เรียนครั้งที่ 1


บันทึกอนุทิน
วิชา  การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน  อาจารย์ ตฤณ  แจ่มถิ่น

วัน/เดือน/ปี  14  มิถุนายน  2556  เวลา   13: 00 น. -  16:40 น.



สิ่งที่ได้รับจากการเรียนวันนี้  ทำให้ได้เรียนรู้อะไรหลายๆอย่างทำให้ทราบว่าการจัดประสบการณ์ทางภาษามีองค์ประกอบอะไรบ้าง ได้มีการเรียนรู้ได้แชร์ประสบการณ์กับเพื่อนๆในห้องว่าแต่ลคนได้มีการแบ่งแยกองค์ประกอบในารจัดประสบการณ์ของเด็กว่าอย่างไรบ้าง และสิ่งที่เรียนสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตให้เกิดประโยชน์สูงสุดได้อย่างไรบ้างและอีกอย่างก็คือารสร้างบล็อคเป็นสิ่งที่ดีมากเพราะการที่เราเรียนรู้เราไม่ได้เก็บไว้เพียงเราเท่านั้น เราสามารถทำให้คนอื่นได้รับรู้ว่าสิ่งที่ดีในการเรียนรู้อาจจะเป็นประโยชน์ของใครอีกหลายคนในการที่จะใช้ในการจัดประสบการณ์ทางภาษาของเด็ก